ใครที่เสียภาษีบ้าง
คนโสดเงินเดือน 16,585 บาท จึงเริ่ม เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
( เงินเดือนอัตรานี้หมายถึง พนักงานที่ไม่มีรายการ ลดหย่อน ใด ๆ นอกเหนือจากประกันสังคม )
ใครที่ต้อง ยื่น ภาษี บ้าง
ถ้าเงินเดือนไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีเงินได้ แต่ก็มีหน้าที่ต้องยื่นแบบ หากเข้าตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- คนโสดมีเงินได้ทั้งปีเกิน 50,000 บาท
- มีคู่สมรส มีเงินได้ทั้งปีไม่ว่าฝ่ายเดียวหรือทั้งสองฝ่ายรวมกันเกิน 100,000 บาท
ระยะเวลาในการยื่นภาษี
1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี
การ ชำระ ภาษี ผ่าน ทาง อินเตอร์เน็ต
1. เข้าไปที่ http://rdserver.rd.go.th
ถ้าได้เงินเดือนจากบริษัท อย่างเดียว ให้ยื่นแบบ ภงด.91
แต่ถ้านอกเหนือจากงานประจำ ยังมีรายได้จากทางอื่นอีก ก็จะต้องยื่นแบบ ภงด.90
ลงทะเบียน
ถ้ายังไม่ได้กดลงทะเบียนให้กด ลงทะเบียน มันจะไปยังหน้านี่
เพราะว่า ถ้าเกิดจะต้องยื่น(ในปีหน้า) แล้วจำรหัสผ่านไม่ได้ ที่หน้าล๊อกอิน มันมีให้กด ลืมรหัสผ่าน
มันจะให้เลือก คำถาม ด้วย ถ้าจำไม่ได้ว่าเลือกคำถามไหนไปก็จบกัน
3. เสร็จเรียบร้อยให้ไปล็อกอิน ด้วยรหัส บัตรประชาชน และ password ที่สมัครไว้
นอกนั้นที่ หักลด ได้ มี
- คู่สมรส (ที่ไม่มีรายได้)
- มีบุตร
- พ่อแม่อายุเกิน 60 ปี (ไม่มีรายได้)
- ทำประกันชีวิต
- ผ่อนบ้าน
- ลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
- ลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
จะกรอกในข้อ ค ทั้งหมด
จะมีแค่เงินบริจาคที่จะกรอกในข้อ ก (เราตี กรอบสีดำ ในรูปข้อ 4 ให้แล้ว)
คนโสดเงินเดือน 16,585 บาท จึงเริ่ม เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
( เงินเดือนอัตรานี้หมายถึง พนักงานที่ไม่มีรายการ ลดหย่อน ใด ๆ นอกเหนือจากประกันสังคม )
ใครที่ต้อง ยื่น ภาษี บ้าง
ถ้าเงินเดือนไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีเงินได้ แต่ก็มีหน้าที่ต้องยื่นแบบ หากเข้าตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- คนโสดมีเงินได้ทั้งปีเกิน 50,000 บาท
- มีคู่สมรส มีเงินได้ทั้งปีไม่ว่าฝ่ายเดียวหรือทั้งสองฝ่ายรวมกันเกิน 100,000 บาท
ระยะเวลาในการยื่นภาษี
1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี
การ ชำระ ภาษี ผ่าน ทาง อินเตอร์เน็ต
1. เข้าไปที่ http://rdserver.rd.go.th
ถ้าได้เงินเดือนจากบริษัท อย่างเดียว ให้ยื่นแบบ ภงด.91
แต่ถ้านอกเหนือจากงานประจำ ยังมีรายได้จากทางอื่นอีก ก็จะต้องยื่นแบบ ภงด.90
2. พอกดเข้าไปแล้วจะเจอหน้า login
หมายเลขผู้ใช้ คือ เลขประจำตัวประชาชน
รหัสผ่าน ต้องมีความยาว 8 ตัวอักษร
หมายเลขผู้ใช้ คือ เลขประจำตัวประชาชน
รหัสผ่าน ต้องมีความยาว 8 ตัวอักษร
ลงทะเบียน
ถ้ายังไม่ได้กดลงทะเบียนให้กด ลงทะเบียน มันจะไปยังหน้านี่
หน้าลงทะเบียน เลือก บุคคลธรรมดา สัญชาติไทย น้ะจ้ะ
ทำตามขั้นตอนลงทะเบียนจนจบ
ถ้าเราสัญชาติไทย พอลงทะเบียนเสร็จจะได้ ภาพพิมพ์ แบบ ภ.อ.01 มาด้วย
ที่ควรจะใส่ใจจำให้ได้ ตอนลงทะเบียน ก็คือ คำถามกันลืม แล้วก็คำตอบ ถ้าจำไม่ได้ก็หาอะไรจดไว้ดีๆนะ
ถ้าเราสัญชาติไทย พอลงทะเบียนเสร็จจะได้ ภาพพิมพ์ แบบ ภ.อ.01 มาด้วย
ที่ควรจะใส่ใจจำให้ได้ ตอนลงทะเบียน ก็คือ คำถามกันลืม แล้วก็คำตอบ ถ้าจำไม่ได้ก็หาอะไรจดไว้ดีๆนะ
เพราะว่า ถ้าเกิดจะต้องยื่น(ในปีหน้า) แล้วจำรหัสผ่านไม่ได้ ที่หน้าล๊อกอิน มันมีให้กด ลืมรหัสผ่าน
มันจะให้เลือก คำถาม ด้วย ถ้าจำไม่ได้ว่าเลือกคำถามไหนไปก็จบกัน
หน้า ลืมรหัสผ่าน เผื่อเข้ามาปีหน้า จะได้ไม่เอ๋อ น้ะจ้ะ
3. เสร็จเรียบร้อยให้ไปล็อกอิน ด้วยรหัส บัตรประชาชน และ password ที่สมัครไว้
พอล๊อกอินไปแล้วกด ภงด. 91 แล้วจะมาที่หน้านี้ (ตัวอย่างนี้ เราจะจ่าย ภงด 91 กันนะจ๊ะ ถ้าต้องจ่าย ภงด.90 ก็กด ของ 90 นะ)
ก็ติ๊กสถานะผู้มีเงินได้ไป
ถ้า สถานะ สมรส ก็กรอกด้านขวาด้วย
โสดกับหม้ายไม่ต้อง
ให้เลือกวิธีบันทึกแบบ : ตามรูปแบบ ภ.ง.ด.91
ก็ติ๊กสถานะผู้มีเงินได้ไป
ถ้า สถานะ สมรส ก็กรอกด้านขวาด้วย
โสดกับหม้ายไม่ต้อง
ให้เลือกวิธีบันทึกแบบ : ตามรูปแบบ ภ.ง.ด.91
ให้เลือกวิธีบันทึกแบบ ตามรูปแบบ ภงด 91 นะ
4. ตอบตกลง ก็จะมาหน้านี้แล้ว
หน้าจอยุ่บยั่บ ไม่ต้องตกใจน้ะจ้ะ
ตรงกรอบสีๆ 4 กรอบที่เราตีกรอบไว้ ถ้ามองไม่เห็นก็คลิกที่รูปซะ มันจะได้เป็นรูปใหญ่ ( ได้แก่ เงินได้, ภาษี หัก ณ ที่จ่าย, กองทุนเลี้ยงชีพ, ประกันสังคม ) ให้กรอกตาม หนังสือรับรองการ หัก ภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทแจกมาให้ (รูปล่างมีตีกรอบไว้ด้วยสีเดียวกัน) ทั้ง 4 ช่อง
หน้าจอยุ่บยั่บ ไม่ต้องตกใจน้ะจ้ะ
ตรงกรอบสีๆ 4 กรอบที่เราตีกรอบไว้ ถ้ามองไม่เห็นก็คลิกที่รูปซะ มันจะได้เป็นรูปใหญ่ ( ได้แก่ เงินได้, ภาษี หัก ณ ที่จ่าย, กองทุนเลี้ยงชีพ, ประกันสังคม ) ให้กรอกตาม หนังสือรับรองการ หัก ภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทแจกมาให้ (รูปล่างมีตีกรอบไว้ด้วยสีเดียวกัน) ทั้ง 4 ช่อง
ให้ยกไปใส่ตามสีเลยนะจ้ะ
5. จากรูปของข้อ 4
5. จากรูปของข้อ 4
นอกนั้นที่ หักลด ได้ มี
- คู่สมรส (ที่ไม่มีรายได้)
- มีบุตร
- พ่อแม่อายุเกิน 60 ปี (ไม่มีรายได้)
- ทำประกันชีวิต
- ผ่อนบ้าน
- ลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
- ลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
จะกรอกในข้อ ค ทั้งหมด
จะมีแค่เงินบริจาคที่จะกรอกในข้อ ก (เราตี กรอบสีดำ ในรูปข้อ 4 ให้แล้ว)
ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องกรอกนะจ้ะ
8. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม "คำนวณภาษี"
มันจะมาหน้าให้ใส่เลขประจำตัวผู้เสียภาษี ของ 'ผู้จ่ายเงินได้'
นั่นก็คือ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของ บริษัท นั่นเอง
ให้ดูจาก หนังสือรับรองการ หักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทให้เรามานะจ้ะ (จากตัวอย่างนี้ ดูได้จากด้าน บนขวา ของเอกสาร นะจ้ะ)
9. พอกดตกลง มันจะไปหน้าให้ยืนยัน
ที่มุมล่างขวาจะมีคำร้องขอคืนภาษี
ก็ติ๊กไปว่าจะเอาคืนหรือไม่
แล้วก็กดยืนยัน
จบและ
6. * ช่อง ข "รายการเงินได้ที่ได้รับยกเว้น" จะเกี่ยวข้องกับเราแค่ข้อ 1 ข้อเดียว (สำหรับคนที่สะสมเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิน 10,000.- คือ นำส่วนที่เกิน 10,000.- มากรอกตรงนี้)
7. เสร็จแล้วโปรแกรมจะสรุปภาษีว่าต้องจ่ายเพิ่ม หรือได้รับคืนอัตโนมัติ (ดูข้อ ก.15) แต่หากโปรแกรมขึ้นว่ามีเงินต้องจ่ายเพิ่ม ต่ำกว่า 1.- ก็ไม่ต้องชำระเขายกเว้นให้
7. เสร็จแล้วโปรแกรมจะสรุปภาษีว่าต้องจ่ายเพิ่ม หรือได้รับคืนอัตโนมัติ (ดูข้อ ก.15) แต่หากโปรแกรมขึ้นว่ามีเงินต้องจ่ายเพิ่ม ต่ำกว่า 1.- ก็ไม่ต้องชำระเขายกเว้นให้
8. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม "คำนวณภาษี"
มันจะมาหน้าให้ใส่เลขประจำตัวผู้เสียภาษี ของ 'ผู้จ่ายเงินได้'
นั่นก็คือ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีของ บริษัท นั่นเอง
ให้ดูจาก หนังสือรับรองการ หักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทให้เรามานะจ้ะ (จากตัวอย่างนี้ ดูได้จากด้าน บนขวา ของเอกสาร นะจ้ะ)
9. พอกดตกลง มันจะไปหน้าให้ยืนยัน
ที่มุมล่างขวาจะมีคำร้องขอคืนภาษี
ก็ติ๊กไปว่าจะเอาคืนหรือไม่
แล้วก็กดยืนยัน
จบและ
เป็นไงบ้างอ่านแล้วรู้เรื่องหรือเปล่า คอมเมนท์ตอบผมด้วยจะเป็นพระคุณอย่างยิ่งครับ
สุดท้ายนี่น่าจะเป็นประโยชน์
1. หนังสือรับรอง ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทออกให้ รวมถึงเอกสารและหลักฐานที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ ให้เก็บรักษาไว้ 3 ปี
เนื่องจาก กรม สรรพากร สามารถขอตรวจสอบเอกสารย้อนหลังได้
2. ลดหย่อนกองทุนประกันสังคม ได้สูงสุด 9,000 บาท
3. - ลดหย่อนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ไม่เกิน 10,000 บาท
- ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 290,000 บาท เป็นเงินได้รับยกเว้นภาษี
4.
สุดท้ายนี่น่าจะเป็นประโยชน์
1. หนังสือรับรอง ตามมาตรา 50 ทวิ ที่บริษัทออกให้ รวมถึงเอกสารและหลักฐานที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ ให้เก็บรักษาไว้ 3 ปี
เนื่องจาก กรม สรรพากร สามารถขอตรวจสอบเอกสารย้อนหลังได้
2. ลดหย่อนกองทุนประกันสังคม ได้สูงสุด 9,000 บาท
3. - ลดหย่อนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ไม่เกิน 10,000 บาท
- ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 290,000 บาท เป็นเงินได้รับยกเว้นภาษี
4.
ตารางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ลำดับ
|
ตั้งแต่ (บาท)
|
ถึง (บาท)
|
อัตราภาษี
|
1
|
0.00
|
100,000
|
0%
|
2
|
100,001
|
500,000
|
10%
|
3
|
500,001
|
1,000,000
|
20%
|
4
|
1,000,001
|
4,000,000
|
30%
|
5
|
4,000,001
|
1,000,000,000
|
37%
|
ความคิดเห็น