ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

อยู่เหงาๆ เราไปเที่ยว - สังขละบุรี เมืองกาญจน์ กาญจนบุรี ( ภาค 2 ตักบาตรยามเช้า สัมผัสชีวิตชาวมอญ, วัด หลวงพ่อ อุตตมะ หรือ วัดวังก์วิเวการาม )

NOTE : ถ้าเพิ่งมาอ่านตอนนี้ ภาคปฐมบท ตั้งต้น จาก หมอชิต 2 อยู่ ที่นี่ จ้า



เช้าแบ้วแจ้~

หลังจาก ล้างหน้า แปรงฟัน เรียบร้อย ก็เตรียมตัว ออกไปตักบาตร สัมผัส ชีวิต ชาวมอญ

จากที่เมื่อคืนสงสัยว่า พระท่านจะเดินข้ามสะพาน มาหรือไม่






คำตอบ คือ ท่านไม่เดินข้ามสะพาน

แหะๆ แต่ว่า ..

จริงๆ แล้ว ถ้าเราจะข้ามไปฝั่งมอญจะมี สะพานสองท่อน คือ สะพาน คอนกรีต และ ยังต้องข้ามไปยังสะพานไม้อีกท่อนหนึ่ง

ตรงเกาะกลาง มีพระท่านมาบิณฑบาท จริงๆ

ขณะเดียวกัน ทางฝั่งมอญ ก็มีพระมาบิณฑบาท ห่างไป 10 เมตร เหมือนกัน

สรุปคือ มีพระสองวัดน้ะจ้ะ






เราจึงอุดหนุน ของบิณฑบาท ทั้งจากฝั่งไทย ตรงริมสะพาน 30 บาท (มีทิชชู่ เจลลี่ แล้วก็น้ำ)

และ ร้านฝั่งมอญ 99 บาท อันนี้ชุดใหญ่ ได้เป็นกระบุงด้วย เพื่อให้เข้าถึงชีวิตชาวมอญจริงๆ


บรรยากาศการตักบาตร ตอนเช้าจ้ะ

แต่ไปๆมาๆ เอ๊ะ เราอยู่ ท่ามกลาง นักท่องเที่ยวไทยนี่นา

= =!

เลยกลายเป็น ดูวิถี การตักบาตร ของนักท่องเที่ยวไทยแทน



เผาหยวกกล้วย


หลังจากนั้นก็แวะกิน ขนมจีน หยวกกล้วย สักหน่อย เขาว่าดังออกทีวีด้วยนะครับ



 ขนมจีนหยวกกล้วย
ชิมแล้วรสของ หยวกกล้วย คล้ายๆ กับ รากบัว



 ขนมจีนจากร้านเดียวกัน


ขนมจีนจ้ะ

รู้สึกเขาจะมีขาย โจ๊กมอญ ด้วย

นอกจากนั้นเรายังได้กิน โรตี กับ โกโก้ กับร้านที่อยู่ตรงข้าม

โกโก้อุ่นๆ เข้มข้นได้ใจมากๆ


ตลาดมอญ ยามเช้า

แวะซื้อแป้งพม่ามา กระปุกละ 30 บาท ซื้อ 3 กระปุก เขาลดให้เหลือ 80 บาท

แต่ละกระปุก ต่างกันแค่กลิ่นจ้า

ร้านเขายังมีขาย ท่อนแป้ง คล้ายๆ ท่อนไม้ เอามาขูดๆ

คนขายบอกว่า คนแก่ ชอบ เพราะมันจะหอมกว่า

แต่ถ้าไม่มีเวลาขูด ก็ซื้อเป็นตลับมา

วิธีทำ แป้งพม่า

อ้อ ลืมเล่าไปนิดหนึ่ง ตอนเราเดินข้ามสะพาน ยังเจอกับ ไกด์ตัวน้อย ที่คอยช่วยแนะนำ เวลาซื้อของตักบาตร, คอยเล่าเรื่องเกี่ยวกับ สะพานมอญ ให้เราฟัง, และยังแนะนำที่เที่ยวต่างๆ ให้อีกด้วย :)


ที่ที่เราจะไปในวันนี้ มีสามที่ด้วยกัน
1. วัดหลวงพ่ออุตตมะ ( วัดวังก์วิเวการาม )
หลวงพ่ออุตตมะ เป็นคนเริ่มคิดจะสร้างสะพาน เมื่อมีพระเป็นหัวเรือใหญ่ ชาวบ้านก็มาช่วยเหลือกัน

ไกด์น้อยบอกว่า สะพานมอญ เป็นสะพานไม้ที่ยาว อันดับสอง ของโลก

2. พุทธคยา (จำลอง)

และ 3. เมืองบาดาล


เราจึงเดินไปทางวัดหลวงพ่ออุตตมะ ก่อน เพราะ ว่า พุทธคยา กับ เมืองบาดาลนั้น น่าจะไปทางเดียวกัน



ระหว่างทาง จ้ะ
แก๊สโซฮอล์ เบนซิน โซล่า ดีเซล
น่าจะไว้เติม มอเตอร์ไซด์
ไม่ค่อยเห็นรถยนต์ วิ่งทางฝั่งมอญเลย
(แต่เห็น มอไซด์ ฟีโน่ ><~)







ถึงแล้วจ้า

หลวงพ่ออุตตมะ เป็นพระที่ชาวบ้านแถวนั้นเลื่อมใสจริงๆ

ขนาดร้านขนมจีน ยังมีรูปท่านแขวนอยู่เลย


หลวงพ่ออุตตมะ

เข้าไปกราบไหว้รูปปั้นของท่าน และ รับลูกประคำ อันศักดิ์สิทธิ์ จากพระสงฆ์

หลังจากนั้น พระสงฆ์ ที่ให้ลูกประคำ ก็ชวนสนทนา เรื่อง สิ่งที่หาไปก็ไม่มีประโยชน์ 4 ประการ
และ มงคลชีวิต 38 ประการ ในบางหัวข้อ เช่น ถ้าอยากเป็นที่รักใคร่ของเพื่อนฝูง ก็ให้เลิกริษยา เป็นต้น


เพดาน

ตรงพุทธคยา(จำลอง) มีรูปหลวงพ่ออุตตมะ กำลังคล้อย ลูกประคำ

เราเลยเดาเอาเองว่า ตอนท่านมีชีวิตอยู่ ก็คงเป็นคนคล้องลูกประคำให้เอง


หมาวัด



พระพุทธรูปจ้ะ



under construction



เสมา ชิมิ

จบตอน 2 จ้า

เด๋วมาต่อ ตอน 3 ไปต่อกันที่ เจดีย์ พุทธคยา ( จำลอง ) และ เมืองบาดาล กันน้ะจ้ะ

ต่อตอน 3 ที่นี่ เบยยย

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปีอธิกสุรทิน อธิกมาส อธิกวาร และ การทดปฏิทิน

 ปีที่แบ่งตามรอบพระอาทิตย์ (สุริยคติ) มี 2 แบบ คือ 1. ปกติสุรทิน คือ มี 365 วัน 2. อธิกสุรทิน คือ มี 366 วัน (เดือนกุมภาฯมี 29 วัน) การคำนวน ปีอธิกสุรทิน ตรงนี้บางท่านจะจำได้แต่เพียง ว่า หาร 4 ซึ่งไม่ใช่แค่นั้นครับ ความจริงแล้ว จะมีสูตรคำนวณที่ถูกต้องคือ ให้เอา ค.ศ.ตั้ง แล้วเอา 4 หาร หากหารลงตัวก็ใช่ ยกเว้น 100 หารลงตัว แต่หาก 400 ลงตัวก็ให้นับเป็นอธิกสุรทินด้วย (เช่น ปี 1900 ไม่เป็นอธิกสุรทิน แต่ปี 2000, 2004 เป็นปีอธิกสุรทิน) ปีที่แบ่งตามรอบพระจันทร์ (จันทรคติ) แบ่งเป็น 3 คือ 1. ปกติมาส-ปกติวาร  (บางที่เขียนย่อ เป็น ปกติมาส-วาร)       คือ ปีที่เป็นปกติ มีเดือนคู่ ข้างขึ้น 15 วัน ข้างแรม 15 วัน       และมีเดือนคี่ ข้างขึ้น 15 วัน ข้างแรม 14 วัน       รวมวันใน 1 ปี เป็น (30*6+29*6) = 354 วัน 2. ปกติมาส-ปีอธิกวาร (บางที่เรียกเป็น อธิกวาร)       คือ ปีที่เป็นปกติ แต่เดือน 7 จะมีข้างแรม 15 วัน        รวมวันใน 1 ปี เป็น 354+1 = 355 วัน 3. ปีอธิกมาส-ปกติวาร (บางที่จะเรียกเป็น อธิกมาส)       คือ ปีที่มีเดือนแปดเพิ่มอีกเดือน หรือที่เรียกกันว่า มีเดือนแปดสองหน       รวมวันใน 1 ปี เป็น 354+30

วิธีการไป อย. กระทรวงสาธารณสุขจากหัวลำโพง

ทางไป : รถไฟฟ้า MRT หัวลำโพง ไปลงที่ สถานี กระทรวงสาธารณสุข  ถ้ากดที่ตู้ต้องเปลี่ยนไปหน้าจอสายสีม่วง สนน ราคา 48 53 บาท ต่อมอไซด์ ถ้าไป อย. 20 บาท จากหน้าทางเข้า  ถ้าฝนตกแนะนำให้โบกแท็กซี่จากข้างหน้า ข้างในหาแท็กซี่ยากมาก ถ้าจะเดินประมาณ 2.4 km ให้ระวังหลงเข้าไปรพ ศรีธัญญา รพ ศรีธัญญาพื้นที่ข้างในใหญ่มาก และเหมือนจะล้อมด้วยคลอง เหมือนจะมีทางออกแค่ทางที่เข้าไปนั่นแหละ ทางกลับ : รถเมล์ 97 จาก อย. ตรงข้ามประกันสังคม ทางที่ 1 : ถ้าจะใกล้ลงหน้าปากซอยขึ้นสายสีม่วงที่สถานีกระทรวงสาธารณสุขที่เดิม ทางที่ 2 : ผ่าน ท่าน้ำนนท์​ กลับเรือได้ ทางที่ 3 : ผ่านหน้าพระจอมพระนครเหนือด้วยนะ ผ่าน สถานีรถไฟฟ้า MRT บางซื่อ  ( จาก อย. ไป MRT บางซื่อ 17 บาท,  จาก MRT บางซื่อ ไป MRT หัวลำโพง 44 บาท นั่งกลับได้ 2 ทาง ทางหัวลำโพง กับ ไปเปลี่ยนที่ท่าพระ ไม่รู้ว่าทางไหนเร็วกว่ากัน ) ทางที่ 4 :  ผ่าน สะพานควาย  ทางที่ 5 :  นั่งถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิได้ ค่ารถเมล์ 21 บาท ค่ารถไฟฟ้าไป BTS สะพานตากสิน 47 บาท 

สอบสัมภาษณ์ MBA คำถามและการเตรียมตัว

 * “แนะนำตนเอง” การแนะนำตนเองไม่ใช่แค่บอกชื่อ-นามสกุล ตำแหน่งงาน สถานที่ทำงาน หรือ ประวัติการศึกษาเท่านั้น ข้อมูลเหล่านี้ต้องพูดถึง แต่ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ ส่วนที่สำคัญในการแนะนำตนเองก็คือต้องขายความเป็นตัวตนของเรา ความสามารถของเรา และ/หรือวัตถุประสงค์ในการเลือกเรียนหลักสูตรนี้  พยายามตอบคำถามให้สอดคล้องกับ MBA ไม่ต้องนาน ประมาณ 2–3 นาที เน้นเนื้อ ไม่เน้นน้ำ ซ้อมพูดเยอะๆ ถือว่าเป็น First Impression * ทำไมจึงเลือกสมัครเข้าเรียนหลักสูตรนี้  ทำไมถึงมาเรียน MBA ทำไมอยากเรียน MBA ทำไม อยากเรียนตอนนี้  * ทำไม ต้องเรียน MBA ที่นี่ -- ลองศึกษา Program ของมหาลัยที่จะไปดูน้าว่ามหาลัยมีอะไรเด่น * คิดว่าถ้าเรียน MBA จะมี Challenge อะไรบ้าง * สนใจโปรแกรมอะไรบ้าง * หลังเรียนจบอยากทำอะไร * ต้องการอะไรจากหลักสูตรนี้  เรียนแล้วคิดว่าจะได้อะไร เอาไปใช้อะไรในชีวิต * ทำไมไม่เรียนสาขาอื่น ถ้าอายุงานถึงเรียนอย่างอื่นได้ * ในองค์กรที่ทำงานอยู่สามารถเติบโตได้ถึงตำแหน่งไหน * Performance ปัจจุบันเป้นยังไง  * ดูดีอยู่แล้ว แล้วมาเรียน MBA ทำไม เพราะงานที่ทำอยู่ก็มีโกาสก้าวหน้าในสายอาชีพบริหารอยู่แล้ว * ไม่ได้เรียนม

เทคนิคคิดเลขเร็วโดยใช้ วิธีคิด แบบ เวทคณิต ( Vedic Mathematics example )

จากที่สงสัยเรื่อง ลูกคิด ของ จินตคณิต ที่ลองไปค้นดู ปรากฎว่า เจอ เวทคณิต ซึ่งเขาบอกว่า อยู่ในคัมภีร์พระเวท ลองอ่านดูแล้ว รู้สึกว่าฝึกสมอง ก็ทำให้คิดเลขเร็วดี เลยสรุปมาให้ ตามนี้ Tutorial 1 การลบเลข ALL FROM 9 AND THE LAST FROM 10 ทุกตัวลบจาก 9 และตัวสุดท้ายลบจาก 10 เช่น 1000 - 357 = 643 10,000 - 1,049 = 8951 ถ้า 1,000 - 83 ให้มองว่ามี 0 อยู่ข้างหน้า เป็น 1,000 - 083 = 917 ฝึกบ่อยๆ ก็คล่อง แล้วก็ไม่ต้องใช้เครื่องคิดเลขด้วย ลองทำดูสิ 1) 1000 - 777 = 2) 1000 - 283 = 3) 1000 - 505 = 4) 10,000 - 2345 = 5) 10,000 - 9876 = 6) 10,000 - 1011 = 7) 100 - 57 = 8) 1000 - 57 = 9) 10,000 - 321 = 10) 10,000 - 38 = 3,000 - 467 ก็ทำเหมือนกัน โดยลบตัวแรกสุดของ 3,000 ไป 1 จากนั้นก็ทำเหมือนเดิม จะได้ว่า 3,000 - 467 = 2,533 Tutorial 2 VERTICALLY AND CROSSWISE สำหรับตัวเลขที่น้อยกว่าฐานนิดหน่อย ลอง 88x98 88 น้อยกว่า 100 อยู่ 12 98 น้อยกว่า 100 อยู่ 2 12x2 = 24 88-2 หรือ 98-12 ได้ 86 ดังนั้นตอบ 8,624 ดูอีกตัวอย่าง หรือ ลองทำนี่ดู 1) 87 x 98 = 2) 88 x

เรื่อง matrix ที่อาจจะลืมกันไปแล้ว

Rank ของ matrix Rank ของ matrix A คือ จำนวน independent columns (หรือ rows) ของ A นั่นคือ square matrix จะ full rank ถ้า ทุกคอลัมน์ independent กัน เมื่อ full rank, det จะ = 0 วิธีหา rank อาจหาได้โดย [U, W, V] = svd(A) แล้วดูว่า rank คือ จำนวน residual ของ W ที่ไม่เป็น 0 full rank = singular matrix = หา inverse ได้ สมบัติของ rank 1. rank(AB) <= min(rank(A), rank(B)) ย้ำว่า < หรือ = นะ ดูสมบัติอื่นๆ ได้จาก wiki Null Matrix เมตริกซ์ศูนย์ (Zero Matrix หรือ Null Matrix ) คือ เมตริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์หมด Orthogonal Matrix Cramer's rule Ax = b Cramer's rule ใช้ได้เมื่อ A เป็น square matrix เท่านั้น กรณีที่มีจำนวน สมการ มากกว่าจำนวน ตัวแปร ( A mxn เมื่อ m > n ) หรือเราเรียกว่า over parameter เราไม่สามารถหา inverse ของ rectangular matrix ได้ ให้ไปใช้ psudoinverse แทน x = A + b หรือ หรือ หรือ ไปใช้ SVD แก้สมการซะ คำตอบคือ last col of v ! Gaussian elimination method ใช้แก้สมการ เช่นเดียวกับ กฏของ คราเมอร์ วิธีคิดหลักๆ คือ ทำให้สามเหลี่ยมล่างเป็น 0 ให้หมด โดย

เลขฐานสอง ติดลบ เรื่องที่อาจจะลืมกันไปแล้ว

คอมพิวเตอร์ใช้การเปิดปิด หลอดสุญญากาศ ดังนั้นค่าที่เป็นไปได้คือ 0 กับ 1 ไม่มีติดลบ จึงกำหนดให้ใช้ 2's complement มากำหนดเลขลบ วิธีทำคือ เปลี่ยนเลข 1 เป็น 0 เปลี่ยนเลข 0 เป็น 1 แล้ว บวกหนึ่ง เช่น 1 คือ 00000001 เปลี่ยนเป็น 11111110 บวก 1 ได้ 11111111 บิตที่อยู่หน้าสุดจะบอกว่าเป็นเลขบวกหรือลบ ( 0 = +, 1 = -) พิสูจน์ จาก สมการคณิตศาสตร์​ 1 + (-1) = 0 00000001 + ???????? = 0 00000001 + (11111110 + 000000001 ) = 0 นั่นเอง วิธีที่ง่ายกว่านั้นในการทำ 2's complement คือ 1. หา 1 ตัวสุดท้าย 010100 1 2. invert ตัวหน้า 1 ทั้งหมด 101011 1 สำหรับคนที่ลืมไปแล้ว 1's complement คือเปลี่ยนเลข 1 เป็น 0 เปลี่ยนเลข 0 เป็น 1 ตามปกติ เช่น ~1 1 = 00000001 ~1 = 11111110 ซึ่งมีค่าเท่ากับ -2 ที่มา : วิชาการดอทคอม , wikipedia

วิธีใช้ ubuntu ต่อ อินเทอร์เน็ตทรู ( true ) โดยโมเด็ม billion bipac 7000 usb adsl modem

ก็อปไฟล์ cxacru-fw.bin ไปที่ /lib/firmware ไฟล์ cxacru-fw.bin download ได้ที่นี่ ก็อปไฟล์ br2684ctl ไปที่ /usr/sbin ไฟล์ br2684ctl download ได้ที่นี่ $ sudo pppoeconf nextๆ ไปเรื่อยๆ ใส่ username, password ของทรู ตามปกติ แล้วเขียนไฟล์ดังนี้ true.sh #!/bin/sh modprobe cxacru modprobe br2684 sudo /usr/sbin/br2684ctl -b -c 0 -a 0.100 # Communicating over ATM 0.0.100, encapsulation: LLC sudo ifconfig nas0 up pon dsl-provider # Plugin rp-pppoe.so loaded เสร็จแล้วสั่ง รัน shell script $ . ./true.sh คราวต่อไปรัน . ./true.sh อย่างเดียวก็ได้แล้วๆ reference : siamgeek บทความอื่นๆเกี่ยวกับ ubuntu

ส่งไปรษณีย์ทีละมากๆ ที่ช่องไปรษณีย์สำหรับธุรกิจ

  ถ้าเราส่งไปรษณีย์ทีละ 10 กล่องขึ้นไป สามารถไปส่งโดยใช้ช่องทางธุรกิจได้ โดยต้องกรอกใบรับฝากรวม ( Receipt for bulk Posting ) เป็นลิสต์รายการให้เขาไปด้วย โดยกรอกพัสดุแต่ละรายการ และ ไปยื่นให้เขาพร้อมกับพัสดุที่จะส่ง วิธีกรอก คือ ให้กรอกพัสดุแบบเดียวกันไว้แผ่นเดียวกัน  เช่น พัสดุ10 กล่อง กล่องขนาดเท่ากัน น้ำหนักเท่ากันหมด กรอกไว้ 1 แผ่น ถ้าน้ำหนักต่างกัน ขนาดกล่องต่างกัน กรอกแยกแผ่นไว้ดีที่สุด ซึ่งใบนี้สามารถไปขอได้ที่ไปรษณีย์ฝ่ายธุรกิจ สามารถนำมาทำใส่ A4 ก็ได้ ขอบคุณคุณพี่ amarin.ch ที่ไปรษณีย์กลาง ( BANGKOK G.P.O. ) มากๆ นะครับ สำหรับคำแนะนำ ขอบคุณที่ช่วยคีย์ให้ทีละรายการสำหรับมือใหม่ที่ยังไม่รู้ว่ามีใบรับฝากรวมอย่างผมด้วยครับ คราวหน้าผมจะทำใบรับฝากรวมไปครับ

ข้อแตกต่างระหว่าง Mahalanobis distance กับ Euclidean Distance : ทำไม และ เมื่อไหร่ ต้องใช้ Mahalanobis distance ใน data mining

Euclidean Distance นิยาม EuclideanDistance = sqrt(sum( (A - B) .^ 2 )) โชว์เหนือ เขียนแบบ linear algebra EuclideanDistance = norm(A - B) ข้อเสียของ Euclidean distance 1. sensitive to scales ของตัวแปร ในกรณี geometric ตัวแปรทุกตัวมีหน่วยเดียวกันหมด คือ ระยะทาง แต่เมื่อพิจารณาตัวแปรที่มีข้อมูลหลายชนิดพร้อมๆกัน เช่น ใน data mining เราอาจจะพิจารณา อายุ, ความสูง, น้ำหนัก ฯลฯ พร้อมๆกันหมด สเกลมันเอามาเปรียบเทียบกันไม่ได้ 2. Euclidean distance ใช้กับตัวแปรที่ correlated กันไม่ได้ เช่น สมมติว่าเรามี data set 5 ตัวแปร ที่ซึ่งค่าของตัวแปรหนึ่งเหมือนกับอีกตัวแปรหนึ่งเด๊ะๆ ( กรณีนี้เหมือนเด๊ะ เลยเป็น completely correlated ) Euclidean distance จะคำนวณโดย weight ข้อมูลที่ซ้ำกันมากขึ้น ทำให้มีปัญหา Mahalanobis distance นิยาม เมื่อ S คือ covariance matrix และ x, y มี distribution เดียวกัน Mahalanobis distance มันพิจารณ่า covariance matrix ไปด้วย เลยขจัดปัญหาเรื่อง scale และ correlation ที่ Euclidean Distance มีได้ ใน MATLAB ใช้ฟังก์ชั่น mahal() หรือ pdist() ดูตัวอย่าง mahaldist.m ของคุณ Peter J. Ackl

แจก คัมภีร์ ไบเบิล ภาษาไทย รวมเล่ม ( download thai bible pdf version )

แปลกใจว่า ทำไม ไม่มี ebook พระคัมภีร์ ที่สามารถ print อ่านได้เลย เลยเอา พระคัมภีร์ภาษาไทย ฉบับ KJV ( Thai Bible King James Version ) มาเย็บรวมเล่ม สร้างไว้เฉพาะ พันธสัญญาเดิม ( Old Testament ) ดาวน์โหลดได้จาก Thai Bible ย้ายแล้วจ้า ย้ายมา อันนี้ จะยัดลง iPhone หรือ iPod Touch ก็ได้ เพราะว่า มันอ่าน pdf ได้อยู่แล้ว จาก iBook ง่าย และ ฟรี ไม่ต้อง crack โปรแกรมให้ผิดศีล ถ้าไม่ชอบรูปแบบยังไง checkout มาแล้ว compile latex เองได้เลย จัดรูปแบบสวยงามแล้ว commit กลับมา จักเป็นพระคุณยิ่ง NOTE: ถ้าท่านต้องการสนับสนุนเรา ท่านสามารถดาวน์โหลด App ของเราได้ทางมือถือ Android ที่ App Words of God เนื้อหาจะเป็นเนื้อหาเดียวกันกับที่แจกฟรีนี้  ซึ่งใน App ท่านสามารถศึกษาพระคัมภีร์ได้แบบ Offline ซึ่งสามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องต่ออินเตอร์เน็ต ท่านสามารถพกไปที่ไหนก็ได้ นอกจากนี้ ใน App ท่านสามารถ Search เพื่อค้นหาพระคัมภีร์ได้ และ ใน App เราไม่ได้เก็บข้อมูลใดๆ ของท่าน (เช่น การติดตามว่าท่านอ่านหน้าไหน, การติดตามว่าท่านค้นหาอะไร)  เดิมทีเราเองทำไว้ให้ทุกท่านสามารถเข้าถึงได้ฟรีทางเว็ปไซท์  ที่นี